วันศุกร์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 16

วันอังคารที่ 25 กันยายน 2555

-อาจารย์ให้เขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อดีและข้อจำกัดของ  Tapled ในชั้นประถมศึกษาและชั้นอนุบาล
-อาจารย์สรุปความรู้ที่เรียนมา
-อาจารย์แจกเกณฑ์การให้คะแนน

**งานที่มอบหมาย 
ให้ทำ blogger ของตัวเองให้เรียบร้อย โดยมีส่วนประกอบดังนี้
-บทความเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
-วิจัยเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
-ตัวอย่างเพลงวิทยาศาสตร์
-ข้อมูลที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
-ดูโทรทัศน์ครูและสรุปลงบล็อคเกอร์

โทรทัศน์ครู สอนปฐมวัยด้วยธรรมชาติแบบวิถีพุทธ เป็นการสอนวิทยาศาสตร์แบบธรรมชาติ
http://www.thaiteachers.tv/vdo2.php?id=3432

เป็นการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบธรรมชาติ ที่เรียกว่า "มาทาลโปรแกรม" การฝึกประสาทสัมผัสทั้ง 5 การลงมือปฎิบัติ เข้าใจสิ่งรอบตัวที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ การจำแนกวัสดุต่างๆ
จัดกิจกรรม หน่วยการเรียนรู้ ชุมชนของเรา
ครูและเด็กสนทนาเกี่ยวกับสิ่งรอบตัวภายในชุมชนมีอะไรบ้าง จากนั้นให้เด็กนำบ้านที่สร้างมา นำมาจัดเป็นชุมชนร่วมกัน โดยมีอุปกรณ์ที่หลากหลายไว้ให้ เช่น ไม้บล็อค ไม้ตะเกียบ มีรูปทรง และสอดแทรกเรื่องธรรมชาติโดยให้ใช้กล่องนม ทำเป็นต้นไม้ โดยครูยกตัวอย่างให้เด็กฟัง
ในการทำกิจกรรมเด็กได้จำแนกประเภทสิ่งของต่างๆได้ เช่นโลหะ กระดาษ ไม้ พลาสติก
ให้เด็กสร้างเส้นทางจากบ้านตัวเองไปหาเพื่อน เป็นการให้เด็กมีสังคม การมีสัมพัธ์ที่ดี และการทำงานร่วมกันระหว่างเพื่อน และรู้จักแบ่งปัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สอนเรื่องประโยชน์ของต้นไม้ประโยชน์ของธรรมชาติ และให้เด็กนำเสนอโดยครูใช้คำถามว่าบ้านของเด็กๆมีอะไรบ้าง
กิจกรรมแยกแยะสิ่งของจับคู่ความสัมพันธ์ โดยครูหยิบสิ่งของขึ้นมาและให้เด็กแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ของสิ่งของนั้นๆ และให้หาสิ่งของที่คู่กัน เป็นการฝึกการสังเกตสิ่งของที่อยู่รอบตัว ที่อยู่ในห้องเรียน






วันพฤหัสบดีที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 15

วันอังคารที่ 18 กันยายน 2555

จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ให้เด็กอนุบาล โรงเรียนสาธิตจันทรเกษม


ฐาน ลูกโปงหรรษา
สมาชิก
1.น.ส พีรญา แสงนาค
    2.น.ส ปรียาภรณ์ คงแก้ว
      3.น.ส ศิระประภา ไพรเสนา
  4.น.ส จุฑาทิพย์ กันชัย
อุปกรณ์
1.ลูกโป่ง 
2.กระดาษ
3.ยางรัด
4.เชือก
5.ไม้บรรทัด

หลักการ 
อนุภาคของอากาศจะอยู่ใกล้ชิดกันมากกว่าอนุภาคของอากาศภายนอก
อากาศที่มีอนุภาคใกล้ชิดกันมากจะเป็นตัวกลางที่ดีในการให้เสียงเดินทางผ่าน

วิธีการทดลอง
1.เป่าลูกโป่งให้พองเต็มที่
2.ใช้เชือกวัดขนาดของลูกโป่งว่ากว้างเท่าไหร่
3.ให้เพื่อนถือกระดาษห่างจากหูเท่ากับความกว้างของลูกโป่ง
4.ใช้นิ้วเคาะกระดาษสังเกตการได้ยิน
5.นำลูกโป่งแนบหูแล้วให้เพื่อนนำกระดาษแทรกระหว่างลูกโป่งและมือที่จับ
6.เคาะเบาๆที่กระดาษสังเกตเสียงและการได้ยิน




บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 14

วันอังคารที่ 11 กันยายน 2555

-อาจารย์พูดถึงเรื่องการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ที่ โรงเรียนสาธิตจันทรเกษม ในวันที่ 18 ก.ย. 55
-เตรีมอุปกรณ์ให้พร้อม
-ทำป้ายชื่อเด็ก
-ตรวจแผนกิจกรรมของแต่ละกลุ่ม
-อาจารย์ตรวจบล็อคของแต่ละคน



วันพฤหัสบดีที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 13

วันอังคารที่ 4 กันยายน 2555

-ส่งบรอดของแต่ละกลุ่ม (3คน) และอาจารย์ก๊ให้คำแนะนำเพิ่มเติม


สมาชิก
1.นางสาวรัชฎาภรณ์ ฤาชา
2.นางสาวจุฑาทิพย์ กันชัย
3.นางสาวทิพากร พลเยี่ยม

 -ส่งสมุดเล่มเล็ก งานกลุ่ม 3 คน

สมาชิก
1.นางสาวรัชฎาภรณ์ ฤาชา
2.นางสาวจุฑาทิพย์ กันชัย
3.นางสาวทิพากร พลเยี่ยม


-ส่งงานวิทยาศาสตร์กลุ่ม 4 คน

**งานที่มอบหมาย
วันอังคารที่ 18 กัยายน 2555 ให้นักศึกษาไปจัดกิจกรรมให้น้องๆที่โรงเรียนสาธิตจันทรเกษม

สิ่งที่ต้องทำ มีดังนนี้ 

เสียง
-ลูกโป่ง
-การเดินทางของเสียง
-ระดับน้ำมีผลต่อระดับเสียง

การเปลี่ยนแปลง
-ปิ่ง/ย่าง
-นึ่ง/ต้ม
-ทอด

แม่เหล็ก
-ขั่วต่างดูด
-แรงผลัก
-ของเล่น

**กลุ่มดิฉันรับผิดชอบจัดกิจกรรม ลูกโป่ง (เสียง)
-ตั้งชื่อกิจกรรม
-แนวคิด
-ป้ายชื่อเด็ก





บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 12

วันอังคารที่ 28 สิงหาคม 2555

-จัดบรอด กลุ่ม 3 คน


สมาชิก
1.นางสาวรัชฎาภรณ์ ฤาชา
2.นางสาวจุฑาทิพย์ กันชัย
3.นางสาวทิพากร พลเยี่ยม

บันทึกการเข้าอบรม


วันอาทิตย์ที่ 26 สิงหาคม 2555

จัดช่อดอกพุทธรักษา


ทำดอกกุหลาบจากกระดาษทิชชู

จัดดอกกุหลาบเป็นช่อ
สมาชิก
1.นางสาวรัชฎาภรณ์ ฤาชา
2.นางสาวจุฑาทิพย์ กันชัย

3.นางสาวทิพากร พลเยี่ยม

บันทึกการเข้าอบรม

วันเสาร์ที่ 25 สิงหาคม 2555



-ประดิษฐ์ดอกไม้

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 11

วันอังคารที่ 21 สิงหาคม 2555

**ขาดเรียน เนื่องจากไม่สบาย**

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 10

วันอังคารที่ 14 สิงหาคม 2555

ไม่มีการเรียนการสอน

**สอนชดเชยในวันอาทิตย์ที่ 26 สิงหาคม 2555**

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 9

วันอังคารที่ 7 สิงหาคม 2555

ไม่มีการเรียนการสอน

**สอนชดเชยในวันเสาร์ที่ 25 สิงหาคม 2555

บันการเข้าเรียนครั้งที่ 8

วันอังคารที่ 31 กรกฎาคม 2555

**สอบกลางภาค**

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 7

วันอังคารที่ 24 กรกฎาคม 2555

-อาจารย์พูดเรื่องวิทยาศาสตร์
-วิทยาศาสตร์คือสิ่งที่อยู่รอบตัวเรา

ประโยชน์
-ประสบการณ์ตรง
-เกิดความสนุกสนาน
-ตื่นเต้น
-มีอิสระ
-ได้ความรู้
-เกิดความสงสัย
-มีคำถาม
-แสวงหา/ใฝ่รู้







**งานที่มอบหมาย
-ให้เขียนแผนการสอน ส่งภายในวันศุกร์



บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 6

วันอังคารที่ 17 กรกฎาคม 2555

ทำไมต้องทำของเล่น??
-การเรียนรู้ของเด็กเกิดจากการเล่น
-การเล่นทำให้เกิดประสบการณ์
-เปิดโอกาศให้เห็นพัฒนาการของเด็ก
-เด็กได้ลองผิดลองถูก
-ทำให้เด็กเกิดทักษะ

การเล่น
-เป็นวิธีการที่ทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้
-เป็นเครื่องมือที่ทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้
-การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม

การสร้างของเล่นในเชิงวิทยาศาสตร์
-อยากให้เด็กมีประสบการณ์จริง
-แต่เด็กจะไม่ได้รับอิสระเหมือนการเล่นอิสระ

เมื่อเด็กได้ทดลอง
-เกิดประสบการณ์การสังเกต
-เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง

**งานที่มอบหมาย
-แบ่งกลุ่มเขียน my map เรื่องวิทยาศาสตร์น่ารู้




บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 5

วันอังคารที่ 10 กรกฎาคม 2555

-นำเสนองานของแต่ล่ะกลุ่มพร้อมสาธิตวิธีการเล่น


-อาจารย์แนะนำเพิ่มเติม

ขวดน้ำและน้ำมัน

วัสดุอุปกรณ์
1.ขวด  2.น้ำ  3.น้ำมัน  4.สีผสมอาหาร  5.ของเล่นชิ้นเล็กๆ 6.สก็อตเทป

วิธีทำ
1. เทน้ำที่ใส่สีผสมอาหารแล้ว ใส่ขวด
2. เทน้ำมันลงไปในขวด ประมาณ 1/3 ของน้ำ
3. ใส่ของเล่นชิ้นเล็กๆลงไป
4. ปิดฝาขวดให้แน่น และนำสก็อตเทปมาปิดทับเพื่อไม่ให้ฝาเปิด

แนวคิด
 น้ำมันมีความหนาแน่นต่ำกว่าน้ำ จึงเบากว่าทำให้มันลอยตัวขึ้นมาเหนือน้ำ ซึ่งการที่ของเหลว 2 ชนิดต้องมีคุณสมบัติเหมือนกัน แต่น้ำมันไม่สามารถผสมกันได้ก๊เพราะว่า "แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของน้ำมันมีระยะห่างใหญ่กว่าน้ำ

ภาพวิธีทำ ขวดน้ำและน้ำมัน

กล่องส่องเงา

วัสดุ-อุปกรณ์
1.กล่อง  2.กระดาษไข  3.กระดาษห่อของขวัญ  4.กาว  5.กรรไกร  6.กระดาษ  7.คัตเตอร์  8.กระดาษสี

วิธีทำ
1.นำกล่องมาเจาะรูขนาดใหญ่ 1 ด้่าน
2.เจาะด้านบนกล่อง และด้านหลังกล่อง ขนาดพอประมาณ
3.นำกระดาษไขมาปิดทับด้านหน้า
4.ห่อกล่องให้สวยงาม
5.วาดรูปสัตว์ต่างๆและตัด จากนั้นนำมาผูกกับเชือก

แนวคิด
เมื่อแสงตกกระทบวัตถุทึบแสง แงสไม่สามารถผ่านทะลุวัตถุได้ จึงทำให้เกิดเงาของวัตถุบนฉาก

ภาพวิธีทำ กล่องสองเงา



วันจันทร์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 4

วันอังคารที่ 3 กรกฎาคม 2555

อาจารย์ใช้คำถาม ดูหนังแล้วได้อะไร
-เสียใจ ร้องไห้-ข้อคิด-สาระ-อินไปกับหนัง
       อาจารย์ให้ดูวีดีโอ เรื่องมหัศจรรย์ของน้ำ-สิ่งต่างๆในโลก ล้วนมีน้ำเป็นส่วนประกอบ เช่นผลไม้ ผัก-ถ้าร่างกายขาดน้ำ ก็จะอ่อนเพลีย-คนเราขาดนำได้แค่3วัน -อูฐขาดน้ำได้10วัน-น้ำมี3สถานะ  คือของแข็ง ของเหลว และก๊าซ-น้ำจะระเหยเมื่อได้รับความร้อน

**งานที่มอบหมาย

จับคู่ 2 คน 1.ทำสื่อที่ใช้ในมุมวิทยาศาสตร์ 2.ของเล่นที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์

1.กล่องส่องเงา(สื่อที่ใช้ในมุมวิทยาศาสตร์)


2..ขวดน้ำและน้ำมัน(ของเล่นที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์)


วันพฤหัสบดีที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 3

วันอังคารที่ 26 มิถุนายน 2555

-อาจารย์ให้ส่งงาน ที่สั่งสัปดาห์ที่แล้ว
 

Mind Map เรื่อง มะม่วง


















จัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์
       -อาจารย์ยกตัวอย่างแมวเหมียวให้ฟัง(เด็กเกิดการเรียนรู้)
   1.พัฒนาการทางสติปัญญา
   2.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
  2.1 กระบวนการพื้นฐานเบื้องต้น
         -สังเกต(สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ของเด็ก)
         -การวัด (เรื่องปริมาณ)
         -การจำแนกประเภท
         -การหาความสัมพันธ์มิติกับเวลา
         -การสื่อความหมาย
         -การคำนวนพยากรณ์
   2.2กระบวนการแบบผสม
        -ตั้งสมมติฐาน
        -กำหนดเชิงปฏิบัติการณ์
        -กำหนดและควบคุมตัวแปร
        -ทดลอง
        -ตีความและสรุป
  3.การใช้สื่อ
        -เลือกให้เหมาะสม
        -เตรียมสื่อ
        -ใช้
        -ประเมิน
  4.วิธีการจัด
1.แบบเป็นทางการ
    -รูปแบบการสอนแบบต่างๆเช่น โครงงานวิทยาศาสตร์
    -มีจุดมุ่งหมาย
2.แบบไม่เป็นทางการ
    -มุมวิทยาศาสตร์
    -สภาพแวดล้อมที่ครูเตรียม
*งานที่มอบหมาย
1. จับกลุ่มละ4-5 คน เลือกหัวข้อ1หน่วย ทำมายแม็ป เขียนแผนการสอน เพื่อนำไปสอนเด็กสาธิต
หน่วย วิทยาศาสตร์น่ารู้
เรื่องน้ำ
สมาชิก 1.นางสาวรัชฎาภรณ์ ฤาชา
             2.นางสาวจุฑาทิพย์ กันชัย
            3.นางสาวทิพากรพลเยี่ยม
           4.นางสาวนฎา หาญยุทธ

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 2

วันอังคารที่ 19 มิถุนายน 2555

- อาจารย์เช็คชื่อ นักศึกษาที่ทำบล็อคแล้ว
- อาจารย์ให้เขียน สิ่งที่คาดหวังในรายวิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
1.การจัดประสบการณ์
2.วิทยาศาสตร์
3.เด็กปฐมวัย

     1.เด็กปฐมวัย
สติปัญญา
-สมอง  ด้านภาษา
-การคิด  วิเคราะห์/สังเคราะห์

* ภาษา เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้

     2. การจัดประสบการณ์  รู้
      หลักการจัดประสบการณ์
-ทฤษฎี
-กระบวนการจัดประสบการณ์
-เทคนิควิธี
-สื่อ จัดสภาพแวดล้อมสนับสนุนการจัดประสบการณ์
-วิธีการประเมินผล
     3. วิทยาศาสตร์ รู้
-ทักษะทางวิทยาศาสตร์
-สาระทางวิทยาศาสตร์
-หลักสูตร
      ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
-สังเกต
-จำแนกประเภท
-ทักษะการวัด ความสูง ความกว้าง ความยาว
-ทักษะการหาความสัมพันธ์เกี่ยวกับสเปส
-ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล
-ทักษะการจัดกระทำ และสื่อความหมายข้อมูล
-ทักษะการพยากรณ์
-ทักษะการคำนวน
     ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ขั้นผสม
-ทักษะการกำหนดและควบคุมตัวแปร
-ทักษะการตั้งสมมติฐาน
-ทักษะการกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ
-ทักษะการทดลอง
-ทักษะการแปลความหมายข้อมูล และลงข้อสรุป

***งานที่มอบหมาย
1.พัฒนาการทางด้านสติปัญญาตัวไหนที่เป็นวิทยาศาสตร์ สำหรับเด็กอายุ3ขวบ(โพสในบล็อค)
     ตอบ =  1.ชอบถาม "ทำไม" "อย่างไร" "ที่ไหน"
                  2.จำแนกสื่งต่างๆด้วยประสาทสัมผัสทั้ง5
                  3.บอกเวลา "เมื่อวานนี้"  "วันนี้" "พรุ่งนี้"
2.จับกลุ่ม3-4 คน ให้หาเนื้อหาที่จะจัดให้กับเด็ก 5วัน

วันเสาร์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 1

วันอังคารที่ 12 มิถุนายน 2555

เข้ามาเซ็นต์ชื่อ อาจารย์มอบหมายงานไว้ ดังนี้

- สร้างบล็อควิทยาศาสตร์
- ลิ้งค์มาตรฐานวิทยาศาสตร์ของ สสวท.
- ลิ้งค์รายชื่อเพื่อนลงในบล็อค
- ดูโทรทัศน์ครูเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์(เรื่องนึงซ้ำได้ไม่เกิน 3 คน)
**โทรทัศน์ครู โรงเรียนเด็กพิเศษ-วิทยาศาสตร์