วันศุกร์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 16

วันอังคารที่ 25 กันยายน 2555

-อาจารย์ให้เขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อดีและข้อจำกัดของ  Tapled ในชั้นประถมศึกษาและชั้นอนุบาล
-อาจารย์สรุปความรู้ที่เรียนมา
-อาจารย์แจกเกณฑ์การให้คะแนน

**งานที่มอบหมาย 
ให้ทำ blogger ของตัวเองให้เรียบร้อย โดยมีส่วนประกอบดังนี้
-บทความเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
-วิจัยเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
-ตัวอย่างเพลงวิทยาศาสตร์
-ข้อมูลที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
-ดูโทรทัศน์ครูและสรุปลงบล็อคเกอร์

โทรทัศน์ครู สอนปฐมวัยด้วยธรรมชาติแบบวิถีพุทธ เป็นการสอนวิทยาศาสตร์แบบธรรมชาติ
http://www.thaiteachers.tv/vdo2.php?id=3432

เป็นการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบธรรมชาติ ที่เรียกว่า "มาทาลโปรแกรม" การฝึกประสาทสัมผัสทั้ง 5 การลงมือปฎิบัติ เข้าใจสิ่งรอบตัวที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ การจำแนกวัสดุต่างๆ
จัดกิจกรรม หน่วยการเรียนรู้ ชุมชนของเรา
ครูและเด็กสนทนาเกี่ยวกับสิ่งรอบตัวภายในชุมชนมีอะไรบ้าง จากนั้นให้เด็กนำบ้านที่สร้างมา นำมาจัดเป็นชุมชนร่วมกัน โดยมีอุปกรณ์ที่หลากหลายไว้ให้ เช่น ไม้บล็อค ไม้ตะเกียบ มีรูปทรง และสอดแทรกเรื่องธรรมชาติโดยให้ใช้กล่องนม ทำเป็นต้นไม้ โดยครูยกตัวอย่างให้เด็กฟัง
ในการทำกิจกรรมเด็กได้จำแนกประเภทสิ่งของต่างๆได้ เช่นโลหะ กระดาษ ไม้ พลาสติก
ให้เด็กสร้างเส้นทางจากบ้านตัวเองไปหาเพื่อน เป็นการให้เด็กมีสังคม การมีสัมพัธ์ที่ดี และการทำงานร่วมกันระหว่างเพื่อน และรู้จักแบ่งปัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สอนเรื่องประโยชน์ของต้นไม้ประโยชน์ของธรรมชาติ และให้เด็กนำเสนอโดยครูใช้คำถามว่าบ้านของเด็กๆมีอะไรบ้าง
กิจกรรมแยกแยะสิ่งของจับคู่ความสัมพันธ์ โดยครูหยิบสิ่งของขึ้นมาและให้เด็กแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ของสิ่งของนั้นๆ และให้หาสิ่งของที่คู่กัน เป็นการฝึกการสังเกตสิ่งของที่อยู่รอบตัว ที่อยู่ในห้องเรียน






วันพฤหัสบดีที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 15

วันอังคารที่ 18 กันยายน 2555

จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ให้เด็กอนุบาล โรงเรียนสาธิตจันทรเกษม


ฐาน ลูกโปงหรรษา
สมาชิก
1.น.ส พีรญา แสงนาค
    2.น.ส ปรียาภรณ์ คงแก้ว
      3.น.ส ศิระประภา ไพรเสนา
  4.น.ส จุฑาทิพย์ กันชัย
อุปกรณ์
1.ลูกโป่ง 
2.กระดาษ
3.ยางรัด
4.เชือก
5.ไม้บรรทัด

หลักการ 
อนุภาคของอากาศจะอยู่ใกล้ชิดกันมากกว่าอนุภาคของอากาศภายนอก
อากาศที่มีอนุภาคใกล้ชิดกันมากจะเป็นตัวกลางที่ดีในการให้เสียงเดินทางผ่าน

วิธีการทดลอง
1.เป่าลูกโป่งให้พองเต็มที่
2.ใช้เชือกวัดขนาดของลูกโป่งว่ากว้างเท่าไหร่
3.ให้เพื่อนถือกระดาษห่างจากหูเท่ากับความกว้างของลูกโป่ง
4.ใช้นิ้วเคาะกระดาษสังเกตการได้ยิน
5.นำลูกโป่งแนบหูแล้วให้เพื่อนนำกระดาษแทรกระหว่างลูกโป่งและมือที่จับ
6.เคาะเบาๆที่กระดาษสังเกตเสียงและการได้ยิน




บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 14

วันอังคารที่ 11 กันยายน 2555

-อาจารย์พูดถึงเรื่องการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ที่ โรงเรียนสาธิตจันทรเกษม ในวันที่ 18 ก.ย. 55
-เตรีมอุปกรณ์ให้พร้อม
-ทำป้ายชื่อเด็ก
-ตรวจแผนกิจกรรมของแต่ละกลุ่ม
-อาจารย์ตรวจบล็อคของแต่ละคน



วันพฤหัสบดีที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 13

วันอังคารที่ 4 กันยายน 2555

-ส่งบรอดของแต่ละกลุ่ม (3คน) และอาจารย์ก๊ให้คำแนะนำเพิ่มเติม


สมาชิก
1.นางสาวรัชฎาภรณ์ ฤาชา
2.นางสาวจุฑาทิพย์ กันชัย
3.นางสาวทิพากร พลเยี่ยม

 -ส่งสมุดเล่มเล็ก งานกลุ่ม 3 คน

สมาชิก
1.นางสาวรัชฎาภรณ์ ฤาชา
2.นางสาวจุฑาทิพย์ กันชัย
3.นางสาวทิพากร พลเยี่ยม


-ส่งงานวิทยาศาสตร์กลุ่ม 4 คน

**งานที่มอบหมาย
วันอังคารที่ 18 กัยายน 2555 ให้นักศึกษาไปจัดกิจกรรมให้น้องๆที่โรงเรียนสาธิตจันทรเกษม

สิ่งที่ต้องทำ มีดังนนี้ 

เสียง
-ลูกโป่ง
-การเดินทางของเสียง
-ระดับน้ำมีผลต่อระดับเสียง

การเปลี่ยนแปลง
-ปิ่ง/ย่าง
-นึ่ง/ต้ม
-ทอด

แม่เหล็ก
-ขั่วต่างดูด
-แรงผลัก
-ของเล่น

**กลุ่มดิฉันรับผิดชอบจัดกิจกรรม ลูกโป่ง (เสียง)
-ตั้งชื่อกิจกรรม
-แนวคิด
-ป้ายชื่อเด็ก





บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 12

วันอังคารที่ 28 สิงหาคม 2555

-จัดบรอด กลุ่ม 3 คน


สมาชิก
1.นางสาวรัชฎาภรณ์ ฤาชา
2.นางสาวจุฑาทิพย์ กันชัย
3.นางสาวทิพากร พลเยี่ยม

บันทึกการเข้าอบรม


วันอาทิตย์ที่ 26 สิงหาคม 2555

จัดช่อดอกพุทธรักษา


ทำดอกกุหลาบจากกระดาษทิชชู

จัดดอกกุหลาบเป็นช่อ
สมาชิก
1.นางสาวรัชฎาภรณ์ ฤาชา
2.นางสาวจุฑาทิพย์ กันชัย

3.นางสาวทิพากร พลเยี่ยม

บันทึกการเข้าอบรม

วันเสาร์ที่ 25 สิงหาคม 2555



-ประดิษฐ์ดอกไม้